การบริหารจัดการน้ำ

การบริหารจัดการน้ำ

การบริหารจัดการน้ำการบริหารจัดการน้ำของเขื่อนขุนด่านปราการชล แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ฤดูฝน และฤดูแล้ง 1 การบริหารจัดการน้ำฤดูฝน1.1 การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตรพื้นที่การเกษตรในช่วงฤดูฝน ใช้น้ำจากปริมาณน้ำฝนที่ตก ลุ่มน้ำสาขา และอ่างเก็บน้ำในพื้นที่เป็นหลัก เว้นแต่กรณีปริมาณฝนเฉลี่ยมีค่าต่ำกว่า...

อ่านต่อ

โครงสร้างองค์กร

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนขุนด่านปราการชลสำนักงานชลประทานที่9 กรมชลประทาน *, *:before, *:after { box-sizing: border-box; margin: 0; padding: 0; } #container { color:rgb(2, 46, 104); float: left; padding: 1em; width: 100%; } ol.organizational-...

อ่านต่อ

หน้าที่ความรับผิดชอบ

สำนักงานชลประทาน สำนักงานชลประทานที่ 9 แบ่งงานออกเป็น ๑ ฝ่าย ๔ ส่วน ๑ โครงการก่อสร้าง 8 โครงการชลประทานและ 6 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ได้แก่ ฝ่ายบริหารทั่วไป, ส่วนวิศวกรรมบริหาร, ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา, ส่วนปฏิบัติการ และส่วนเครื่องจักรกล, โครงการก่อสร้าง 9, โครงการชลประทานนครนายก, ปราจีนบุ...

อ่านต่อ

นโยบายโครงการ

เขื่อนขุนด่านฯ นโยบายเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • แหล่งน้ำและระบบชลประทานขนาดใหญ่ท่าสามารถเก็บกักน้ำและจัดสรรน้ำอย่างเป็นระบบ สำหรับพื้นที่ทำการเกษตรรวมทั้งแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภคของจังหวัด • บรรเทาอุทกภัยแก่พื้นที่ทั้งสองฝั่งของแม่น้ำนครนายก • เกษตรกรได้รับประโยชน์จากโครงการประมาณ 5 , 40...

อ่านต่อ

วิสัยทัศน์และพันธกิจ

วิสัยทัศน์ของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาขุนด่านปราการชล วิสัยทัศน์ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาขุนด่านปราการชล เป็นหน่วยงานย่อยที่ปฏิบัติงานตามนโยบายของกรมชลประทาน ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายของกรมชลประทานจึงใช้วิสัยทัศน์ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกับกรมชลประทาน คือ “กรมชลประทานเป็นองค์กรอ...

อ่านต่อ

เกี่ยวกับ โครงการ เขื่อนขุนด่านปราการชล

เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทรงมีพระราชดำริเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็น...

อ่านต่อ

1 - 6 of ( 6 ) records